ระบบภูมิคุ้มกัน เป็นระบบของร่างกายที่ตอบสนองต่อสิ่งแปลกปลอมต่างๆที่เข้าสู่ร่างกาย
หรือเกิดขึ้นในร่างกาย
เพื่อให้พ้นจากอันตราย
หรือโทษที่เกิดขึ้นจากสิ่งแปลกปลอมต่างๆ
ถ้ามีน้อยไปหรือมากไปก็จะมีผลเสีย
คือ
ก่อให้เกิดโรคต่างๆได้ ....อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558
การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับร่างกาย
โรคบางชนิดเมื่อเคยเป็นครั้งหนึ่งและรักษาหายแล้ว
ร่างกายจะมีภูมิต้านทานต่อโรคนั้นทำให้ไม่เป็นโรคนั้นอีกตลอดไป เช่น โรคอีสุกอีใส
เป็นต้น ทั้งนี้ก็เป็นเพราะว่า เซลล์ที ในร่างกายจะจดจำเชื้อโรคอีสุกอีใสนี้ได้....อ่านเพิ่มเติม
การป้องกันและกำจัดเชื้อโรคของร่างกาย
โดยปกติแล้วร่างกายของคนเรา มีกลไกในการป้องกันและกำจัดเชื้อโรคอยู่ตามธรรมชาติ
ซึ่งเปรียบเสมือนกับกำแพงเมือง ด่าน
หรือป้อมปราการที่สร้างไว้สำหรับเป็นเครื่องกีดขว้าง
สกัดกั้นหรือดักจับทำลายเชื้อโรค เพื่อไม่ให้เข้าไปทำอันตรายเซลล์ เนื้อเยื่อ
หรืออวัยวะที่ทำหน้าที่สำคัญๆ ภายในร่างกายจนเกิดเป็นโรคร้ายแรงได้ ....อ่านเพิ่มเติม
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องมีการรับสารจากภายนอก เช่น แร่งธาตุ น้ำ
และอาหาร เข้าสู่เซลล์ เป็นต้น
ในขณะเดียวกันเซลล์ก็จะกำจัดสารส่วนเกินหรือของเสียออกสู้ภายนอกด้วย
เพื่อปรับหรือรักษาสภาพภายในเซลล์ให้เหมาะสม....อ่านเพิ่มเติม
กลไกการรักษาดุลยภาพ
นักกีฬาที่ออกกำลังการกลางแจ้งหรือแข่งขันกีฬาเป็นเวลานานย่อมมีการสูญเสียเหงื่อมาก
ทำให้มีการเสียเกลือแร่ออกไปพร้อมกับเหงื่อด้วย
นักกีฬาจึงต้องดื่มเกลือแร่เพื่อชดเชยเกลือแร่ที่เยไปพร้อมกลับเหงื่อ.....อ่านเพิ่มเติม
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีความสำคัญต่อมวลมนุษยชาติเราเป็นอย่างมาก
ด้วยเป็นเครื่องมือมหัศจรรย์ที่นำมนุษย์ไปสู่การค้นพบกับมิติของโลกอีกมุมหนึ่งที่เต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กนานาชนิด
ไม่ว่าจะเป็นสาหร่าย โปรโตซัว แบคทีเรีย เห็ด รา.....อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2558
เซลล์
เซลล์ (Cell) หมายถึง หน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต
มีรูปร่างลักษณะและขนาดแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งมีชีวิตและหน้าที่ของเซลล์เหล่านั้นเซลล์ที่มีขนาดเล็กที่สุ
ดคื อ่านเพิ่มเติม
ดคื อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2558
การแพร่ (diffusion)
คือการเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความหนาแน่นสูงไปยังบริเวณที่มีความหนาแน่นของสารต่ำ โดยอาศัยพลังงานจลน์ของสารเอง
++ สารมากไปสารน้อย หรือบริเวณที่มีสารมากจะเคลื่อนที่ไปบริเวณที่มีสารน้อย)
โดยการแพร่มี 2 แบบดังนี้
1.1) การแพร่แบบธรรมดา (Simple diffusion) เป็นการแพร่ที่ไม่อาศัยตัวพา
หรือตัวช่วยขนส่ง (carrier) ใดๆเลย เช่น
การแพร่ของผงด่างทับทิมในน้ำจนทำให้น้ำมีสีม่วงแดงจนทั่วภาชนะ การได้กลิ่นผงแป้ง
หรือ การได้กลิ่นน้ำหอม
1.2) การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated diffusion) เป็นการแพร่ของสารผ่านโปรตีนตัวพา(Carrier)
ที่ฝังอยู่บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรง
โปรตีนตัวพา (carrier) จะทำหน้าที่คล้ายประตูเพื่อรับโมเลกุลของสารเข้าและออกจากเซลล์
การแพร่แบบนี้มีอัตราการแพร่เร็วกว่าการแพร่แบบธรรมดามาก ตัวอย่างเช่น
การลำเลียงสารที่เซลล์ตับและ เซลล์บุผิวลำไส้เล็ก
การแพร่แบบนี้เกิดในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเท่านั้น อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)